สภาพปัญหา

ปัจจุบันนักเรียนใช้เครื่องมือสื่อสารตลอดเวลา ทำให้ไม่ได้สนใจในเนื้อหา บทเรียนสักเท่าไร อีกอย่างหนึ่ง โทรศัพท์ก็ทำให้ผู้เรียนมีสมาธิน้อยลง กระทบต่อการเรียนของนักเรียน

การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ(Cooperative Learning)

รูปแบบจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ สามารถจัดได้อย่างหลากหลาย แต่ทุกแบบมีลักษณะร่วมกัน คือ แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อยๆ ประมาณ 2-6 คน โดยสมาชิกทุกคนช่วยเหลือกัน มีการฝึกฝนการทำงานกลุ่ม กระบวนการกลุ่ม และการประเมินผลเป็นรายบุคคล 

 การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือมีข้อดีหลายประการ อาทิ


ประเด็นท้าทาย

การแก้ไขปัญหาเพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจเรื่อง การหักเหของแสง โดยใช้เทคนิคการสอนแบบ แบบทำงานร่วมมือกัน ( Co - Operative Learning )

ขั้นตอนที่ 1 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม เลือกตัวแทน กลุ่มละ 1 คน

ขั้นตอนที่ 2ตัวแทนกลุ่มที่ถูกเลือก ออกมาศึกษาวิธีการทดลอง 

ขั้นตอนที่ 2 ตัวแทนกลุ่มเตรียมตัวที่จะไปถ่ายทอดความรู้ให้กับสมาชิกภายในกลุ่ม

ขั้นตอนที่ 3 เมื่อเข้าใจขั้นตอนแล้ว ตัวแทนกลุ่มจะต้องนำขั้นตอนการปฏิบัติไปสอนเพื่อนๆภายในกลุ่ม

ขั้นตอนที่ 3ขั้นตอนการปฏิบัติที่ตัวแทน ไปถ่ายทอด

ขั้นตอนที่ 3 เมื่อเช้าใจขั้นตอนการปฏิบัติ สมาชิกแต่ละกลุ่ม ออกมาทำการทดลอง

 ขั้นตอนที่ 3ตัวแทนกลุ่มจะทำหน้าที่เป็นโค๊ซ แนะนำขั้นตอนการทดลอง

ขั้นตอนที่ 4ครูผู้สอนสังเกตการทดลองประเมินผล การทำกิจกรรมของแต่ละกลุ่ม